บทที่3 การพัฒนาโครงงาน
3.1 การกำหนดปัญหา
การพัฒนาโครงงานที่ดี จะต้องมีการกำหนดปัญหาให้ชัดเจนว่า ปัญหาคืออะไร เกิดจากอะไร มีประเด็นอะไรบ้างที่เกี่ยวข้อง สามารถแก้ไขหรือปรับปรุงใดได้บ้าง โดยแนวทางกำหนดปัญหามีดังนี้
1.ที่มาของปัญหา
2.แหล่งจุดประกายความคิดในการพัฒนาโครงงาน
3.องค์ประกอบเพื่อการตัดสินใจเลือกโครงงาน
2.แหล่งจุดประกายความคิดในการพัฒนาโครงงาน
3.องค์ประกอบเพื่อการตัดสินใจเลือกโครงงาน
3.2 การศึกษาและกำหนดขอบเขตของปัญหา
การพัฒนาโครงงาน ควรศึกษาที่มาและความสำคัญของโครงงาน และควรที่จะกำหนดแนวทางและขอบเขตของโครงงาน
1.ศึกษาที่มาและความสำคํญของโครงงาน
2.การระบุวัตถุประสงค์ของโครงงาน
3.การระบุแนวทางและขอบเขตของโครงงาน
4.ประเมินทรัพยากรที่ใช้ในโครงงาน
3.3 การวางแผนและออกแบบโครงงาน
หลังจากกำหนดวัตถุประสงค์ ขอบเขต และแนวทางในการพัฒนาโครงงานแล้ว ควรวางแผนการพัฒนาโครงงานตามขั้นตอนต่างๆ ให้รอบครอบ รัดกุม
1. ศึกษาเอกสาร และศึกษาความเป็นไปได้ของโครงงาน
2. กำหนดผลสำเร็จของโครงงาน
3. แบ่งการดำเนินการออกเป็นกิจกรรมย่อย
4. กำหนดขั้นตอนก่อนหลังของแต่ละกิจกรรม
3.4 การดำเนินงาน
การศึกษาความรู้ ด้วยโครงงานสุขศึกษา เป็นการส่งเสริมวิธีการค้นหาความรู้การทำงานร่วมกันในกลุ่มเพื่อน และการนำความรู้ที่ได้รับมาสร้างเป็นความรู้ของตนเอง และสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการค้นคว้าไปเผยแพร่ให้กับผู้อื่นโดยผู้ที่จัดทำโครงงาน ได้ดำเนินการตามขั้นตอนของกระบวนการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมทักษะการแสวงหาความรู้ เชิงสร้างสรรค์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยมีขั้นตอนการเรียนรู้ 4 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นที่1 ขั้นวางแผน
ขั้นที่2 ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล
ขั้นที่3 ขั้นสรุปผลความรู้ ขั้นที่4 ขั้นนำเสนอความรู้ และประเมินผลความรู้
ขั้นที่2 ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล
ขั้นที่3 ขั้นสรุปผลความรู้ ขั้นที่4 ขั้นนำเสนอความรู้ และประเมินผลความรู้
3.5 การสรุปผลและเผยแพร่ผลงาน
หลังจากการพัฒนาโครงงานเสร็จสมบูรณ์แล้ว ผู้พัฒนาควรเขียนรายงานโครงานและเผยแพร่ผลงาน ซึ่งมีรูปแบบและหัวข้อที่สำคัญดังนี้
1.การเขียนรายงาน
2.การนำเสนอ
2.การนำเสนอ